Gent z property สำรวจตลาดนักลงทุนและพบว่า นักลงทุนมีหลายประเภท Gent z property จึงอยากแชร์ประสบการณ์ให้กับผู้ที่สนใจอยากจะลงทุนอสังหาริมทรัพย์ นักลงทุนแต่ประเภทมีจุดเริ่มต้นที่แตกต่างกันออกไป
นักลงทุนเจอโอกาส (lottery investor)
นักลงทุนประเภทนี้ เป็นนักลงทุนมีความกระตือรือร้นมาก เพราะว่าเป็นนักลงทุนทุ่มเทในการทำงานจนพบเจอโอกาสอย่างเช่น ได้ดิลซื้อขายที่ดินราคาต่ำกว่าตลาดและเป็นที่ทำเลทอง แต่ยังไม่ได้ซื้อและโอนกรรมสิทธิ์สมบูรณ์ มีแนวคิดชัดเจนในการพัฒนาแต่ไม่แน่ใจว่าจะคุ้มค่าหรือไม่ ถ้าหากมีประสบการณ์ในการพัฒนาทรัพย์น้อย จะมีความเสี่ยงสูงที่จะพัฒนาทรัพย์เกินงบโดยไม่ใช่เหตุ จึงจำเป็นต้องมีทีมวิเคราะห์หรือทีมที่ปรึกษาช่วยในการดำเนินโครงการ
นักลงทุนสายเก็บ ( land collector )
เนืองจากนักลงทุนได้เก็บที่ดินมาระเวลาพอสมควร ได้มาจากมรดกหรือการแบ่งปั่นจากครอบครัวเป็นต้น จุดประสงค์ในการสะสมที่ดินเพราะหวังว่าจะราคาที่ดินจะดีดตัวขึ้นในระยะสั้นๆ เพื่อเก็งกำไล แต่ที่ดินบ้างที่ก็มีผลตอบแทนไม่สูงมากนักในระยะสั้น จึงจำเป็นต้องพัฒนาและสำรวจเป็นขั้นตอนต่อไป นักลงทุนยังไม่มีไอเดียในการพัฒนาให้แตกต่างจากธุรกิจอื่นๆ มีความเสี่ยงด้านการแข่งขัน จึงจำเป็นมากในการสำรวจตลาดในการเริ่มต้น
นักลงทุนผู้สร้าง (CEO investor )
นักลงทุน ซื้อที่ดินมาและสร้างโครงการด้วยตัวของตนเองแต่อยากมีทีมที่จะช่วยส่งเสริมองกรณ์ให้ไปถึงจุดหมาย นักลงทุนสายนี้ผมเข้าใจดีว่าเป็นนักลงทุนที่ภาคภูมิใจที่มีอสังหาริมทรัพย์เป็นชิ้นเป็นอันเพราะผมเองก็อยู่ในประเภทนี้ แต่ขาดทีมที่ต้องสำรวจ หรือวิเคราะห์ ตลาดที่เพื่อจะตอบโจทย์ผู้บริโภคให้มากที่สุด
การศึกษาความเป็นได้ของโครงจำเป็นมาก สำหรับการเริ่มต้นทำโรงการ ระดมสมองในการคิดแผนธุรกิจ จุดขายต่างๆ สำรวจตลาดเพื่อให้เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน และคำนวณความคุ้มค่าด้านการลงทุนต่างๆ ระยะเวลาในการคืนทุน หรือหานักลงทุนมารวมทีมด้วยกัน Gent Z property ที่จะช่วยนักลงทุนทุกสร้างธุรกิจ
วิจัย
http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU_2017_5916030355_7687_8329.pdf
ในช่วง 25 ปีที่ผ่านมานั้น ครอบครัวสามรุ่นในประเทศไทย มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
และถือเป็นประเภทครอบครัวหลักในปัจจุบัน ที่มีลักษณะเด่นในการช่วยเหลือเกื้อกูลกันของสมาชิกใน
ครอบครัว หากพิจารณาภาพรวมในด้านราคาที่ย่อมเยาเทียบกับพื้นที่ใช้สอยที่ได้นั้น ทาวน์เฮาส์หรือบ้าน
แถวถือเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจสำหรับครอบครัว โดยครอบครัวที่อยู่ในระดับที่มีรายได้น้อยถึงปานกลาง
มีแนวโน้มในการเลือกซื้อหน่วยพักอาศัยประเภททาวน์เฮาส์ที่ราคาไม่เกิน 2 ล้านบาท
(ประทีป ตั้งมติธรรม, 2552) การเลือกกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาจึงเลือกจากกลุ่มตัวอย่างประเภท
บ้านทาวน์เฮาส์ 2 ชั้น ในระดับราคาไม่เกิน 2 ล้านบาท งานวิจัยนี้ ศึกษาพฤติกรรมและความต้องการ
ในการใช้พื้นที่ทั้งภายในและภายนอกของหน่วยพักอาศัยประเภททาวน์เฮาส์หรือบ้านแถว ว่าสามารถ
รองรับการอยู่อาศัยของครอบครัวไทยสามรุ่นได้อย่างไร โดยใช้วิธีเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ผ่านการสำรวจ
สังเกต และการท าแบบสัมภาษณ์ เพื่อน ามาวิเคราะห์สรุปผลในประเด็นที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ได้แก่ 1) พื้นที่อเนกประสงค์ 2) พื้นที่ต่อเติม 3) พื้นที่ที่ก่อให้เกิดรายได้ของครอบครัว 4) พื้นที่ที่เป็น
ปัญหาในการอยู่อาศัย 5) พื้นที่ใช้สอยอื่นๆ ที่โครงการไม่ได้จัดไว้ให้ร่วมกับการจำแนกรูปแบบ
ครอบครัวที่พบในการวิจัย ซึ่งสามารถแบ่งรูปแบบครอบครัวโดยใช้จำนวนรุ่นและการใช้งานพื้นที่
ออกเป็น 4 รูปแบบ 1) ครอบครัวสองรุ่นและใช้บ้านเพื่ออยู่อาศัยอย่างเดียว 2) ครอบครัวมากกว่าสองรุ่น
และใช้บ้านเป็นที่อยู่อาศัยอย่างเดียว 3) ครอบครัวสองรุ่นและใช้บ้านเป็นที่ประกอบอาชีพหรือหารายได้
4) ครอบครัวมากกว่าสองรุ่นและใช้บ้านเป็นที่ประกอบอาชีพหรือหารายได้ โดยน าประเด็นความสัมพันธ์
ในการใช้พื้นที่และรูปแบบครอบครัวมาวิเคราะห์และเสนอแนวทางการออกแบบที่อยู่อาศัยประเภท
ทาวน์เฮาส์หรือบ้านแถวสำหรับครอบครัวไทยสามรุ่น เพื่อเป็นทาวน์เฮาส์ต้นแบบที่สามารถปรับเปลี่ยน
ได้ตามรูปแบบครอบครัว เหมาะสมกับกับวิถีชีวิตครอบครัวรายได้น้อยถึงปานกลาง และเป็นทางเลือก
ใหม่ สำาหรับนักลงทุนและพัฒนาที่อยู่อาศัยทั้งภาครัฐ และเอกชน